สอบกลางภาค
เกี่ยวกับฉัน
- นางสาวนุสบา น้ำใจเย็น ชื่อเล่นมายด์
- รหัสนักศึกษา5411204422 คณะศึกษาศาสตร์ สาขาการศึกษาปฐมวัย มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
วันศุกร์ที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2555
วันศุกร์ที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2555
บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 7 (13/12/55)
กิจกรรมการเรียนการสอน
อาจารย์อธิบายถึงความหมายของคู่มือคณิตศาสตร์ , วิธีการสอนคณิตศาสตร์ให้เด็ก , เครื่องมือในการเรียนรู้ในหลักสูตรขั้นพื้นฐาน(ภาษาและคณิตศาสตร์) , กรอบมาตรฐานของคณิตศาสตร์(จำนวนและการดำเนินการ,การวัด,ความสัมพันธ์ของแบบรูป(ทำไมเด็กต้องเข้าใจความสัมพัธ์ของแบบรูป),การวิเคระห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น แล้วอาจารย์ก็ให้ทำงานเป็นกลุ่มๆละ 5 คน โดยมีหัวข้อว่า"ให้นักศึกษาแต่ละกลุ่มช่วยกันวิเคราะห์หน่วย" กลุ่มของดิฉันได้หน่วยธรรมชาติ(ทะเล) พอแต่กลุ่มทำเสร็จอาจารย์ก็ให้แต่ละกลุ่มไปทำงานที่เมื่อกี้เพิ่มเติม
บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 6 (06/12/55)
กิจกรรมการเรียนการสอน
อาจารย์ได้อธิบายถึงวิธีการที่จะทำให้เด็กเกิดการรับรู้สิ่งต่างๆ , การจัดกิจกรรมที่สอดคล้องกับขอบข่ายคณิตศสาตร์ พอหลังจากอาจารย์อธิบายเสร้จอาจารย์ก็ให้นักศึกทุกคนหยิบกล่องที่อาจารย์เมื่ออาทิตย์ที่ขึ้นมา แล้วอาจารย์ก็ถามว่าทำไมเราจะต้องนำกล่องมาสอนเด็ก แล้วนักศึกษาแต่ละคนก็ตอบว่า 1.เป็นสิ่งที่ใกล้ตัว 2.มีรูปร่างและรูปทรงต่างๆ 3.ประหยัดและหาง่าย และอาจารย์ก็ถามต่อว่าวิธีการสอนโดยใช้กล่องนั้นมีวิธีอะไรบ้าง แล้วนักศึกษาแต่ละคนก็ตอบว่า 1.จับคู่กล่องที่มีขนาดเท่ากัน (ใช้การวัดโดยใช้นิ้วมือ ใช้ไม้บรรทัด ใช้เชือก) 2.แยกกล่องที่มีประเภทเดียวกัน (ประเภทอาหาร ประเภทเครื่องใช้) หลักจากนั้นอาจารย์ก็ให้นักศึกษาแบ่งกลุ่มๆละ 10 คน ได้ทั้งหมด 4 กลุ่ม แล้วอาจารย์ก็ให้หัวข้อมาว่า "ให้นักศึกษาแต่ละกลุ่มนำกล่องของสมาชิกในกลุ่มที่เตรียมมานำมาประดิษฐ์เป็นรูปอะไรก็ได้" และอาจารย์ก็ได้สั่งอีกว่า "โดยกลุ่มที่1กับกลุ่มที่4 ให้สมาชิกในกลุ่มวางกล่องตัวเองโดยไม่ต้องปรึกษาใครทั้งสิ้นโดยวางทีละคน และกลุ่มที่2กับกลุ่มที่3 ให้สมาชิกทุกคนในกลุ่มช่วยกันวางแผนหรือคิดว่ากลุ่มของตัวเองจะทำเป็นรูปอะไรและช่วยกันต่อ"
-กลุ่มที่1 เรือขุดเจาะน้ำมันปิโตรเลียม
-กลุ่มที่2 หุ่นยนต์โลโบ้ (กลุ่มของดิฉัน)
-กลุ่มที่3 หนอนน้อยเจ้าสำราญ
-กลุ่มที่4 แท็คเตอร์ 2012
พอสุดท้ายอาจารย์ก็ถามนักศึกษาอีกว่ากล่องสามารถนำมาทำสื่ออะไรได้บ้าง (ขายของ =โดยวางตามมุมที่เตรียมไว้แล้วติดราคาที่กล่องโดยติดเป็นจุด เช่น1จุดก็1บาท )
1. เรียนรู้ผ่านการเล่น (มีอิสระในการตัดสินใจ) -> โดยใช้ประสาทสัมผัสทั้ง ๕ ลงมือกระะทำกับวัตถุ
2. ครูจัดประสบการณ์ -> เด็กเล่นตามที่ครูวางแผนไว้
7. จัดประเภท = "กล่องที่ใส่ของใช้ และไม่ใส่ของใช้" หรือ "กล่องที่ใส่ของกินได้ และกินไม่ได้" * ตั้งเกณฑ์ 1 เกณฑ์ *
8. พื้นที่ = ดินน้ำมันใส่ในกล่อง โดยดินนำมันต้องมีขนาดเท่ากัน
ครูต้องเตรียมดินน้ำมันที่เท่ากัน -> แทนค่า -> กำกับตัวเลข -> เปรียบเทียบ -> นำเสนอ -> เรียงลำดับ
9. ตามแบบ = อนุกรม เช่น.. ดาร์ลี่ ลูกพรุน ดาร์ลี่ ลูกพรุน
10. เศษส่วน =
*ทั้งหมด* กี่กล่อง -> นับจำนวน -> จัดประเภทที่ใส่ของกิน -> มี .... ของทั้งหมด
คำว่า "ครึ่ง" = แบ่งกล่องครึ่งหนึงใช้ทำงานศิลปะ โดย .. จับ 1 : 1 หรือ จับ 2 : 2
11. อนุรักษ์ = เปลี่ยนตำแหน่ง แต้ต้องมีขนาดเท่ากัน
อาจารย์ได้อธิบายถึงวิธีการที่จะทำให้เด็กเกิดการรับรู้สิ่งต่างๆ , การจัดกิจกรรมที่สอดคล้องกับขอบข่ายคณิตศสาตร์ พอหลังจากอาจารย์อธิบายเสร้จอาจารย์ก็ให้นักศึกทุกคนหยิบกล่องที่อาจารย์เมื่ออาทิตย์ที่ขึ้นมา แล้วอาจารย์ก็ถามว่าทำไมเราจะต้องนำกล่องมาสอนเด็ก แล้วนักศึกษาแต่ละคนก็ตอบว่า 1.เป็นสิ่งที่ใกล้ตัว 2.มีรูปร่างและรูปทรงต่างๆ 3.ประหยัดและหาง่าย และอาจารย์ก็ถามต่อว่าวิธีการสอนโดยใช้กล่องนั้นมีวิธีอะไรบ้าง แล้วนักศึกษาแต่ละคนก็ตอบว่า 1.จับคู่กล่องที่มีขนาดเท่ากัน (ใช้การวัดโดยใช้นิ้วมือ ใช้ไม้บรรทัด ใช้เชือก) 2.แยกกล่องที่มีประเภทเดียวกัน (ประเภทอาหาร ประเภทเครื่องใช้) หลักจากนั้นอาจารย์ก็ให้นักศึกษาแบ่งกลุ่มๆละ 10 คน ได้ทั้งหมด 4 กลุ่ม แล้วอาจารย์ก็ให้หัวข้อมาว่า "ให้นักศึกษาแต่ละกลุ่มนำกล่องของสมาชิกในกลุ่มที่เตรียมมานำมาประดิษฐ์เป็นรูปอะไรก็ได้" และอาจารย์ก็ได้สั่งอีกว่า "โดยกลุ่มที่1กับกลุ่มที่4 ให้สมาชิกในกลุ่มวางกล่องตัวเองโดยไม่ต้องปรึกษาใครทั้งสิ้นโดยวางทีละคน และกลุ่มที่2กับกลุ่มที่3 ให้สมาชิกทุกคนในกลุ่มช่วยกันวางแผนหรือคิดว่ากลุ่มของตัวเองจะทำเป็นรูปอะไรและช่วยกันต่อ"
-กลุ่มที่1 เรือขุดเจาะน้ำมันปิโตรเลียม
-กลุ่มที่2 หุ่นยนต์โลโบ้ (กลุ่มของดิฉัน)
-กลุ่มที่3 หนอนน้อยเจ้าสำราญ
-กลุ่มที่4 แท็คเตอร์ 2012
พอสุดท้ายอาจารย์ก็ถามนักศึกษาอีกว่ากล่องสามารถนำมาทำสื่ออะไรได้บ้าง (ขายของ =โดยวางตามมุมที่เตรียมไว้แล้วติดราคาที่กล่องโดยติดเป็นจุด เช่น1จุดก็1บาท )
เนื้อหาที่อาจารย์สอน
- วิธีการให้เด็กเกิดการรับรู้1. เรียนรู้ผ่านการเล่น (มีอิสระในการตัดสินใจ) -> โดยใช้ประสาทสัมผัสทั้ง ๕ ลงมือกระะทำกับวัตถุ
2. ครูจัดประสบการณ์ -> เด็กเล่นตามที่ครูวางแผนไว้
- การจัดกิจกรรมที่สอดคล้องกับขอบข่ายคณิตศาสตร์
หน่วย = กล่อง (ขนาด,รูปทรง)
1. นับ
2. กำกับตัวเลข
3. จับคู่ = ขนาดเท่ากัน(ใช้เชือกวัด หรือนิ้ว) // วัดหาค่า
4. เปรียบเทียบ
5. เรียงลำดับ
6. นำเสนอข้อมูล - > เปรียบเทียบโดยจับคู่ 1 : 1 // ให้เห็นแผ่นภาพ นำเสนอเป็นกราฟ
Ex
หน่วย = กล่อง (ขนาด,รูปทรง)
1. นับ
2. กำกับตัวเลข
3. จับคู่ = ขนาดเท่ากัน(ใช้เชือกวัด หรือนิ้ว) // วัดหาค่า
4. เปรียบเทียบ
5. เรียงลำดับ
6. นำเสนอข้อมูล - > เปรียบเทียบโดยจับคู่ 1 : 1 // ให้เห็นแผ่นภาพ นำเสนอเป็นกราฟ
Ex
7. จัดประเภท = "กล่องที่ใส่ของใช้ และไม่ใส่ของใช้" หรือ "กล่องที่ใส่ของกินได้ และกินไม่ได้" * ตั้งเกณฑ์ 1 เกณฑ์ *
8. พื้นที่ = ดินน้ำมันใส่ในกล่อง โดยดินนำมันต้องมีขนาดเท่ากัน
ครูต้องเตรียมดินน้ำมันที่เท่ากัน -> แทนค่า -> กำกับตัวเลข -> เปรียบเทียบ -> นำเสนอ -> เรียงลำดับ
9. ตามแบบ = อนุกรม เช่น.. ดาร์ลี่ ลูกพรุน ดาร์ลี่ ลูกพรุน
10. เศษส่วน =
*ทั้งหมด* กี่กล่อง -> นับจำนวน -> จัดประเภทที่ใส่ของกิน -> มี .... ของทั้งหมด
คำว่า "ครึ่ง" = แบ่งกล่องครึ่งหนึงใช้ทำงานศิลปะ โดย .. จับ 1 : 1 หรือ จับ 2 : 2
11. อนุรักษ์ = เปลี่ยนตำแหน่ง แต้ต้องมีขนาดเท่ากัน
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)